วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุป lab วันที่ 28-06-56

                                     Osmosis

เป็นการเคลื่อนที่จากน้ำที่มีปริมาณมาก ไปสู่น้ำที่มีปริมาณน้อย โดยผ่านเยื่อ  และใช้เครื่องมือที่มีชื่อว่า" Osmomiter"
ขั้นตอนการทดลอง

1.เตรียมไข่ไก่ หลอดดุด ขวดยาคูลท์ เทียน ไฟแช็ค
2.กระเทาะไข่ด้านป้าน
3.เจาะไข่ด้านแหลมแล้วนำหลอดดูดเสียบเข้าไป
4.ปิดรูให้มิดชิดด้วยนำตาลเทียม หรือเทียนไขนั่นเอง
5.นำน้ำใส่ในขวดยาคูลท์ให้เต็ม
6.ใส่ไข่ลงไปในขวดให้เรียบร้อย
7.สังเกตุการออสโมซิสของไข่แล้วบันทึกผลการทดลอง
จากการทดลองจะเห็นได้ว่าน้ำจะออสโมซิสจากบริเวณที่มีน้ำมากไปสู่บริเวณที่มีน้ำน้อย สังเกตุได้จากน้ำจะดันขึ้นข้างบน

การออสโมซิสของเซลล์พืช
โดยจะแบ่งเป็น 2 กรณี คือเซลล์ที่อยู่ในน้ำกลั่น และเซลล์ที่อยู่ในน้ำเกลือ

เซลล์ทีอยู่ในน้ำกลั่น
ขั้นตอนการทดลอง

1.ตัดชิ้นส่วนของใบว่านกาบหอย
2.นำชิ้นส่วนที่ได้วางบนแผ่นสไลด์
3.หยดน้ำกลั่น 1-2 หยด แช่ไว้ประมาณ 30 นาทีแล้วปิดด้วยกระจกปิด
4.นำมาวางไว้บนที่หนีบสไลด์
5.ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ 
6.สังเกตุการทดลองแล้วบันทึกภาพ
จากการทดลองสังเกตุได้ว่า เซลล์ที่ส่องดูจะมีความเต่งมองดูปากใบชัดเจนเพราะน้ำกลั่นมีความเข้มข้นมาก




เซลล์ทีอยู่ในน้ำเกลือ
 ขั้นตอนการทดลอง

1.ตัดชิ้นส่วนของใบว่านกาบหอย
2.นำชิ้นส่วนที่ได้วางบนแผ่นสไลด์
3.หยดน้ำเกลือ1-2 หยด แช่ไว้ประมาณ 5 นาทีแล้วปิดด้วยกระจกปิด
4.นำมาวางไว้บนที่หนีบสไลด์
5.ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ 
6.สังเกตุการทดลองแล้วบันทึกภาพ
จากการทดลองสังเกตุได้ว่า เซลล์ที่ส่องดูจะเหี่ยวเนื่องจากนำเกลือจะมีความเข้มข้นของน้ำน้อย


 


สรุปจากการทดลองทั้ง 2 กรณีจะเห็นได้ว่าเซลล์ที่อยู่ในน้ำกลั่นจะมีความเต่งกว่าเซลล์ที่อยู่ในน้ำเกลือเนื่องจากน้ำเกลือมีความเข้มข้นของน้ำน้อยเลยทำให้เซลล์เหี่ยว









วันอังคารที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุปบทเรียน วันที่ 24-06-56

          กำเนิดชีวิต

โอปารินได้ตั้งสมมติฐานกำเนิดชีวิต ว่าสิ่งมีชีวิตเป็นพืชเซลล์เดียว อาศัยอยู่ในทะเล

            ความเหมือนและความต่างของสิ่งมีชีวิต

1.ขอบเขตเซลล์ เช่น cell wall

2.สร้างสาร เช่น mitochondrion

3.สร้างพลังงาน

4.พันธุกรรม

5.ขนส่งสาร

6.แหล่งเกิดปฏิกิริยาเคมี

 -cytoplasm

 -nucleoplasm

7.กำจัดของเสีย

 -lysosme

 -vacuole  

การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์มี 2 รูปแบบ

- โมเลกุลใหญ่

     -endosytosis (นำเข้า)

             .cell eating (ฟาโกไซโทซิส) การกลืนกินของเซลล์

             . พิโนไซโทซิส เป็นการนำสารเข้าสู่เซลล์ โดยเมื่อสารมาเกาะติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์จะเว้าเข้าไปจนกลายเป็นกระเปาะ

             .receptor คือเป็นโปรตีนบนผิวของเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน ที่ทำหน้าที่เป็นรีเซพเตอร์ (ตัวรับหรือจับ) ของแอนติบอดีเมื่อจับได้จะส่งสัญญาณเข้าไปสู่เซลล์ 

       -exocytosis (นำออก) 

 

-โมเลกุลเล็ก 

            -Passive transport

                          .diffusion (การแพร่) ของเหลวและกึ่งของเหลว

  เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้ เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ

                  ปัจจัยที่อิทธิพลต่อการแพร่

  1. ความเข้มข้น

    2.อุณหภูมิ

    3.ความดัน

    4.สิ่งเจือปนหรือตัวละลาย 

                      .osmosis

     แรงดันที่เกิดขึ้นในการออสโมซิสเพื่อต้านการเคลื่อนที่ของตัวทำละลายผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ค่าแรงดันออสโมซิสของของเหลวได้ขึ้นอยู่กับของเหลวจะสูงหรือต่ำขึ้นอยู่กับสารละลายนั้นน้ำบริสุทธิ์มีแรงดันออสโมซิสต่ำสุด

    สารละลายที่เกี่ยวข้องกับการออสโมซิส

    1.hypertonic solution ความเข้มข้นมาก

    2.hypotonic solution ความเข้มข้นน้อย

    3.isotonic solution ความเข้มข้นเท่ากัน

                      .facilitase

     การลำเลียงสารจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปจนถึงบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำ แต่ต้องอาศัยตัวพาเป็นตัวกลาง (Carrier) ในการแพร่ ซึ่งมักเป็นสารจำพวกโปรตีนที่มีโมเลกุลขนาดเล็กเช่นกรดอะมิโนซึ่งพบได้ในเยื่อหุ้มเซลล์ รวมถึงน้ำตาลกลูโคส, คาร์บอเนตและไบคาร์บอเนต

     - Active transport


                     

 


สรุป lab วันที่21-06-56
กล้องจุลทรรศน์ Microscope เป็นเครื่องมือขยายขอบเขตประสาทสัมผัสทางตา ประกอบด้วย

1.ลำกล้อง( Body tube)
2.แขน (Arm)
3.แท่นวางวัตถุ (Speciment stage)
4.ที่หนีบสไลด์( Stage clip)
5.ฐาน( Base)
6.กระจกเงา (Mirror)
7.เลนส์รวมแสง (Condenser)
8.ไดอะแฟรม( Diaphram)
9.ปุ่มปรับภาพหยาบ( Coarse adjustment)
10.ปุมปรับภาพละเอียด( Fine adjustmeht)
11.เลนส์ใกล้วัตถุ( Objective lens)
12.เลนส์ใกล้ตา( Eye piece)

วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์
1.นำกล้องจุลทรรศน์ออกจากตู้แล้วนำมาวางบนโต๊ะอย่างระมัดระวัง
2.ถอดพลาสติกที่คลุมอยู่ออกจากกล้องจุลทรรศน์
3.เสียบปลั๊กไฟและเปิดสวิตส์ให้เรียบร้อย
4.นำแผ่นสไลด์และสิ่งที่ต้องการดูมาวางไว้บนแท่นวางวัตถุ
5.ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ปรับแสงให้พอดีกับสายตาแล้วบันทึกภาพ

วิธีการนำแผ่นสไลด์เข้า-ออกจากที่หนีบสไลด์
1.ปรับเลนส์ใกล้วัตถุให้อยู่ในกำลังที่ตำสุดคือ 4x
2.ปรับลำกล้องให้อยู่ต่ำสุด

เซลล์พืช (เซลล์ว่านกาบหอย)
  • รูปร่างเป็นเหลี่ยม
  • ไม่มีไลโซโซม
  • มี cell wall อยู่ด้านนอก
  • ไม่มีเซนทริโอล
  • แวคิวโอลมีขนาดใหญ่มองเห็นได้ชัดเจน



เซลล์สัตว์ (เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม)
  • มีรูปร่างกลมหรือรี
  • มีไลโซโซม
  • ไม่มีผนังเซลล์แต่มีสารเคลือบเซลล์อยู่ด้านนอก
  • ไม่มีคลอโรพลาสต์
  • มีเซนทริโอลใช้ในการแบ่งเซลล์
  • แวคิวโอลมีขนาดเล็ก

























































วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุป บทเรียน วันที่ 17-06-56

sciencetific method ประกอบด้วย

 
1.กำหนดปัญหา
2.สมมติฐานที่เป็นไปได้
3.คำนิยามเชิงปฏิบัติการ
4.ระบุตัวแปร
    -ตัวแปรต้น
    -ตัวแปรตาม
    -ตัวแปรควบคุม
5.ขอบเขตการทดลอง
6.วิธีการทดสอบสมมติฐาน
7.วิธีการนำเสนอผลการทดลอง
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
       เป็นเครื่องมือขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทางตา ประกอบด้วย
 1.ลำกล้อง
 2.แขน
 3.แท่นวางวัตถุ
 4.ที่หนีบสไลด์
 5.ฐาน
 6.กระจกเงา
 7.เลนส์รวมแสง
 8.ไดอะแฟรม
 9.ปุ่มปรับภาพหยาบ
 10.ปุ่มปรับภาพละเอียด
 11.เลนส์ใกล้วัตถุ
 12.เลนส์ใกล้ตา

ประโยชน์ ช่วยในการมองเห็นสิ่งมีชีวิตที่เล็กและช่วยในการศึกษาหาข้อมูลทางชีววิทยา

ภาพที่ได้จากการส่องกล้องจุลทรรศน์ ภาพเสมือนหัวกลับ




















วันอาทิตย์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2556

บทที่ 2 Nature of science

ชีววิทยา(Biology)เป็นวิชาที่กล่าวถึงเรื่องราวต่างๆของสิ่งมีชีวิตอันเป็นวิชาแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์

            วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Sciencetific knowledge )

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Sciencetific method)

เจตคติทางวิทยาศาสตร์ (Sciencetific attitude) สำคัญที่สุด

             Sciencetific method

1. การสังเกต(Observation)

2.การตั้งปัญหา(Problem) สำคัญที่สุด

3.การรวบรวมข้อมูล(Accumulation of data)

4.การตั้งสมมติฐาน(Formulation of hypothesis)

5.การทดสอบสมมติฐาน(Testing of hypothesis)

6.การสรุปผล(Conclusion)