วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

สรุปบทเรียนวันที่ 15-07-56

       กลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต Homeostasis

สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของน้ำแตกต่างกัน

1.การรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
      พืชมีการคายน้ำผ่านทางรูปากใบ(stoma)
       **ปากใบไม่ใช่อวัยวะของพืชเพียงแต่เป็นรูที่อยู่ตรงกลางระหว่างเซลล์คุม 2 เซลล์
การคายน้ำของพืชมี 2 แบบ

1.ไอน้ำ tra-nspiration
   -stomata
   -lenticel
2. หยดน้ำ guttation
   -hydathode

             การปรับตัวของพืขให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำในแหล่งที่อยู่

  1. xerophyte ที่แห้งแล้ง เช่นทะเลทราย ตัวอย่าง ตะบองเพชร
  2. hydrophyte ที่มีน้ำมาก ตัวอย่าง ผักบุ้ง
  3. mesophyte พืชทั่วไป ตัวอย่าง มะพร้าว
  4. halophyte พืชที่อยู่ในดินเค็ม ตัวอย่าง ป่าชายเลน
                   ปัจจัยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
         มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมภายนอกและภายใน
สิ่งแวดล้อมภายใน คือ น้ำ 70 เปอร์เซ็นต์  ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ อื่นๆ
             
                  อวัยวะในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
  • contractile vacuole เช่น พารามีเซียม
  • cell membrane เช่น ฟองน้ำ
  • flame cell เช่น พลานาเรีย
  • nephridium เช่น ไส้เดือนดิน
  • malpighian tubule เช่น แมลง
  • nasal gland เช่น เต่าทะเล
             การกำจัดของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจน
  • สัตว์น้ำ แอมโมเนีย
  • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ปลากระดูกแข็งบางชนิด ยูเรีย
  • หอยทาก นก แมลง และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด กรดยูริก
             การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในร่างกายคน
 
 ไตมีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วแดง
   ไต ทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด และรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
    ไต จะทำการกรองที่โกลเมอรูลัส
    ส่วนประกอบของหน่วยไตเป็นเส้นเลือดฝอยภายในกระเปาะโบว์แมนแคปซูล
    องค์ประกอบของหน่วยไต   -เนื้อไตส่วนนอก รีนัลคอร์เทกซ์
                                               -เนื้อไตส่วนใน รีนัลเมดัลลา
ปริมาณสารต่างๆในน้ำเลือดที่ร่างกายไม่สามารถดูดกลับได้ โปรตีน กลูโคสและกนดอะมิโน
ปริมาณสารต่างๆในน้ำเลือดที่ร่างกายขับออกมา ยูเรีย กรดยูริก
    ** ในขณะที่ร่างกายสูญเสียน้ำ ไตจะทำการหลั่ง (Antidiuretic hormone) ADH
                   การขับถ่ายปัสสาวะ

  1. ปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
  2. เกิดรีเฟลกซ์การถ่ายปัสสาวะ ทำให้กระเพาะปัสสาวะบีบตัว
  3. ยิ่งเพิ่มความดันในกระเพาะปัสสาวะมากขึ้้น ทำให้มีความรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะ

                   อาการผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายโดยไต

  • เบาหวาน (Diabetes mellitus)
  • กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystisis)
  • โรคนิ่ว
  • โรคไตวาย (Remal failure) ร้ายแรงที่สุด ต้องใช้ยาหรือฟอกเลือด หรือต้องใช้ไตเทียม
  • เบาจืด(Diabetes insipidus)
  • Uremia
  • Renal glucosuria
ไตเทียม (Artificial Kidney)เป็นเครื่องมือที่ทำหน้าที่แทนไต มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า "เครื่องเฮโมไดอาไลเซอร์" Hemodialyzer
             กลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย
T > 37 C ลดอัตราเมทาบอลิซึม หลอดเลือดขยายตัว ขนเอนราบ ต่อมเหงื่อสร้างเหงื่อ เพิ่มการระเหย  T ของเลือดลดลง
 T < 37 C เพิ่มอัตราเมทาบอลิซึม หลอดเลือดหดตัว ขนลุก/ร่างกายสั่น ต่อมเหงื่อไม่สร้างเหงื่อ ลดการระเหย  T ของเลือดเพิ่มขึ้น    
          T ของเลือดปกติ 37 C
                การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต


  1. ด้านสรีระ
  2. ด้านพฤติกรรม
  3. ด้านสัณฐาน เฉพาะพืช เช่น ต้นตะบองเพชรเปลี่ยนจากใบกลายเป็นหนาม







































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น